Author: admin
SET50: EOD 25 กรกฎา 2565, 953.07, +2.87, +0.30%
S50U22: EOD 22 กรกฎา 2565, 945.7, +7.9, +0.84%
SET50: EOD 22 กรกฎา 2565, 950.20, +5.21, +0.55%
S50U22: EOD 21 กรกฎา 2565, 937.6, +3.3, +0.35%
SET50: EOD 21 กรกฎา 2565, 944.99, +3.03, +0.32%
S50U22: EOD 20 กรกฎา 2565, 934.8, -6.8, -0.72%
กฟผ.ใกล้ขาดสภาพคล่อง แบกหนี้แสนล้านขอขึ้นค่าไฟ 6 บาท
วิกฤตซ้อนวิกฤตพลังงาน ค่าไฟฟ้า-น้ำมันราคาพุ่ง หลัง กฟผ.ออกมายอมรับ แบกหนี้ค่าเชื้อเพลิงต่อไปไม่ไหว กระแสเงินสดเริ่มติดลบ-ใกล้ขาดสภาพคล่อง Source: กฟผ.ใกล้ขาดสภาพคล่อง แบกหนี้แสนล้านขอขึ้นค่าไฟ 6 บาท
Read MoreSET50: EOD 20 กรกฎา 2565, 941.96, +1.69, +0.18%
DJIA: EOD 19 กรกฎา 2565, 31,827.05, +754.44, +2.43%
S50U22: EOD 19 กรกฎา 2565, 934.1, -6.8, -0.72%
SET50: EOD 19 กรกฎา 2565, 940.27, -7.69, -0.81%
S50U22: EOD 18 กรกฎา 2565, 940.9, +7.0, +0.75%
SET50: EOD 18 กรกฎา 2565, 947.96, +7.06, +0.75%
DJIA: EOD 15 กรกฎา 2565, 31,288.26, +658.09, +2.15%
ค่าเงินบาทอ่อนมาก ทุนสำรองลด 8,700 ล้านเหรียญในเดือนเดียว สถานการณ์นี้น่ากังวลมากหรือไม่?
ตอนนี้ค่าเงินบาทอ่อนมาก และในช่วงเวลา 1 เดือนที่ผ่านมาทุนสำรองของไทยลดลงไป 8,679.51 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ชวนมองกันว่าสถานการณ์นี้น่ากังวลหรือไม่ แล้วทุนสำรองควรมีเท่าไรจึงไม่น้อยเกินไป Source: ค่าเงินบาทอ่อนมาก ทุนสำรองลด 8,700 ล้านเหรียญในเดือนเดียว สถานการณ์นี้น่ากังวลมากหรือไม่? 14 ก.ค. 65 รุ่งนภา พิมมะศรี Summary ตอนนี้ค่าเงินบาทอ่อนมาก ซึ่งการที่ค่าเงินบาทอ่อนหรือแข็งเกินไปนั้นส่งผลเสียต่อเศรษฐกิจ ธนาคารแห่งประเทศไทยจึงต้องเข้ามาดูแลค่าเงินให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม มีเสถียรภาพ ไม่ให้ส่งผลเสียต่อเศรษฐกิจ โดยใช้ ‘เงินสำรองระหว่างประเทศ’ หรือ ‘ทุนสำรอง’ ออกมาแทรกแซงค่าเงิน ในช่วงเวลา 1 เดือนที่ผ่านมา เงินสำรองระหว่างประเทศสุทธิของไทยลดลงไป 8,679.51 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และถ้าเปรียบเทียบตั้งแต่ต้นปี มูลค่าเงินสำรองระหว่างประเทศลดลงไป 26,729.24 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เงินสำรองฯ ที่ลดลงไปจำนวนนี้ถือว่ามากหรือน้อย สถานการณ์เงินสำรองของไทยน่ากังวลหรือไม่ และเงินสำรองระหว่างประเทศนั้นควรมีเท่าไรถึงจะเพียงพอให้สบายใจ? ไทยรัฐพลัสชวนคิดไปด้วยกัน นอกจาก ‘เงินเฟ้อ’ แล้ว อีกคำหนึ่งที่เราได้ยินกันบ่อยในช่วงนี้คือ ‘เงินบาทอ่อนค่า’ คือภาวะที่เงินบาทมีค่าน้อยลง เมื่อนำไปแลกเงินต่างประเทศเราต้องใช้เงินบาทมากขึ้นจึงจะได้เงินต่างประเทศในหน่วยเท่าเดิม ซึ่งโดยทั่วไปก็คือเป็นการเทียบค่าจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทกับเงินดอลลาร์สหรัฐ เงินบาทอ่อนค่ารอบนี้ทำสถิติต่ำสุดที่อัตราแลกเปลี่ยน (อัตราอ้างอิง) 36.3040 บาทต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐ เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคมที่ผ่านมา และมีแนวโน้มว่าจะต่ำลงไปอีกอย่างต่อเนื่อง การที่ค่าเงินบาทอ่อนหรือแข็งเกินไปนั้นส่งผลเสียต่อเศรษฐกิจ ธนาคารแห่งประเทศไทยจึงต้องเข้ามาดูแลค่าเงินบาทให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม มีเสถียรภาพ ไม่ให้ส่งผลเสียต่อเศรษฐกิจ กลไกการดูแลเสถียรภาพของเงินบาทนี้จะเกี่ยวกับคำสำคัญอีกคำหนึ่งคือ ‘เงินสำรองระหว่างประเทศ’ (International Reserve) หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า ‘ทุนสำรอง’ (มาจาก ‘ทุนสำรองระหว่างประเทศ’ – Foreign Exchange Reserves) ซึ่งหมายถึง สินทรัพย์ที่ถือครองหรือควบคุมโดยธนาคารกลางของประเทศต่างๆ และสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ทันทีที่จำเป็น เช่น นำมาใช้ชดเชยการขาดดุลการชำระเงิน หรือใช้เป็นเครื่องมือในการดำเนินนโยบายอัตราแลกเปลี่ยน เงินสำรองระหว่างประเทศ ประกอบด้วย สินทรัพย์ในรูปแบบเงินตราต่างประเทศ (หลักๆ…
Read More