อิ่ม By BDMS โครงการอาหารเพื่อสุขภาพ หมอดีไซน์เมนู เชฟปรุงรสชาติ

ปนัดดา ฤทธิมัต : เรื่อง ศุภโชค สอนแจ้ง : ภาพ “ดีจากข้างใน” นอกจากจะเป็นเรื่องของความรู้สึกนึกคิดที่ดีแล้ว Source: อิ่ม By BDMS โครงการอาหารเพื่อสุขภาพ หมอดีไซน์เมนู เชฟปรุงรสชาติ

0 Comments

‘Healthcare 2022 จักรวาลผู้สูงวัย’ แท็กทีม 12 รพ. เปิดตรวจสุขภาพฟรี 30 มิ.ย.–3 ก.ค.นี้ | Khaosod | LINE TODAY

‘Healthcare 2022 จักรวาลผู้สูงวัย’ แท็กทีม 12 รพ. เปิดตรวจสุขภาพฟรี 30 มิ.ย. – 3 ก.ค.นี้ ที่สามย่านมิตรทาวน์ โดย‘เครือมติชน’ ผนึกกำลังกับภาครัฐและภาคเอกชนชั้นนำ เฮลท์แคร์ งานแฟร์สุขภาพอันดับ 1 ของประเทศ โดย ‘เครือมติชน’ กลับมาแล้ว ปีนี้ตอบรับกระแสสังคมผู้สูงอายุ ด้วยธีม ‘Healthcare 2022 จักรวาลผู้สู Source: ‘Healthcare 2022…

0 Comments

หมอยง เผยผลการศึกษา เด็ก 5-6 ขวบ ติดโควิดมากกว่าที่คิด ส่วนมากไม่มีอาการ

หมอยง เผยผลการศึกษา เด็กวัย 5-6 ขวบ ติดเชื้อโควิด-19 มากกว่าที่คิด ส่วนมากไม่มีอาการ หรืออาการน้อย พบช่วงโอมิครอนมีการติดเชื้อในเด็กไปแล้วถึง 17%Source: หมอยง เผยผลการศึกษา เด็ก 5-6 ขวบ ติดโควิดมากกว่าที่คิด ส่วนมากไม่มีอาการ

0 Comments

พระไตรปิฎกออนไลน์: พระไตรปิฎกออนไลน์-หน้าหลัก

Source: พระไตรปิฎกออนไลน์: พระไตรปิฎกออนไลน์-หน้าหลัก พระไตรปิฎกออนไลน์-หน้าหลัก วิธีใช้งานพระไตรปิฎกออนไลน์ ข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับพระไตรปิฎก ความแตกต่างของพระไตรปิฎกแต่ละฉบับ รายละเอียดของพระไตรปิฎกคัมภีร์ต่างๆ และคำแนะนำในการศึกษาพระไตรปิฎก (ท่านสามารถคลิกที่สารบัญที่มุมขวาล่างของหน้าจอ ซึ่งจะแสดงรายชื่อเล่มพระไตรปิฎกสำหรับเลือกอ่าน รวมถึงสารบัญหมวดอื่นๆ ให้เลือกอ่านด้วย) รายการในหน้านี้ วิธีใช้งานพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โครงสร้างของสารบัญพระไตรปิฎก ที่มาของข้อมูล ข้อมูลพื้นฐานพระไตรปิฎก พระไตรปิฎกมีกี่เล่มกี่ฉบับแตกต่างกันอย่างไร ความแตกต่างของพระไตรปิฎกแต่ละฉบับ คุณค่าของพระไตรปิฎก พระไตรปิฎกมีความสำคัญต่อพระพุทธศาสนาอย่างไร พระไตรปิฎกคืออะไร ส่วนประกอบเนื้อหาในพระไตรปิฎก นวังคสัตถุศาสน์ พุทธพจน์มีองค์ประกอบ 9 อย่าง คำแนะนำการศึกษาพระไตรปิฎก รายละเอียดของพระไตรปิฎกคัมภีร์ต่างๆ สารบัญพระไตรปิฎก…

0 Comments

ภาวะอุจจาระตกค้าง

ภาวะอุจจาระตกค้าง สามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศทุกวัย แม้แต่ผู้ที่มีสุขภาพดีหรืออุจจาระทุกวัน แต่อุจจาระไม่หมด โดยอาจเกิดจากการเบ่งถ่ายผิดวิธี หรืออาจเกิดจากพฤติกรรมการกลั้นอุจจาระ Source: ภาวะอุจจาระตกค้าง 2 มี.ค. 2565 15:36 น. ภาวะอุจจาระตกค้าง สามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศทุกวัย แม้แต่ผู้ที่มีสุขภาพดีหรืออุจจาระทุกวันแต่อุจจาระไม่หมด โดยอาจเกิดจากการเบ่งถ่ายผิดวิธีหรืออาจเกิดจากพฤติกรรมการกลั้นอุจจาระ อุจจาระตกค้าง หากปล่อยไว้เป็นเวลานาน จนกลายเป็นอุจจาระที่ติดแน่นสะสม ส่งผลให้มีภาวะท้องผูกที่รุนแรงขึ้น แน่นท้อง รู้สึกมีลมจำนวนมาก คลื่นไส้ อาเจียน เวียนศีรษะ ตลอดจนหายใจติดขัด การรับประทานยาระบายอาจส่งผลให้เกิดภาวะลำไส้ติดยา หรือลำไส้ดื้อยา และต้องเพิ่มปริมาณการใช้ยาระบายเรื่อยๆ…

0 Comments

4.5 ชั่วโมง“ Magic Number” เพิ่มโอกาสรอด…หลอดเลือดสมองแตก

ทุก 6 วินาที ทั่วโลกจะมีคนตายเพราะโรคหลอดเลือดสมอง 1 คน และเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตและทุพพลภาพ ปี 2564 ที่ผ่านมา ทั่วโลกมีผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองราว 13.7 ล้านคน Source: 4.5 ชั่วโมง“ Magic Number” เพิ่มโอกาสรอด...หลอดเลือดสมองแตก

0 Comments

ไขสงสัย ‘โรคหัวใจ‘ ชอบกินเนื้อ-ไข่แดง ทำไมตายแถมบอลลูนเยอะ? | เดลินิวส์

“หมอธีระวัฒน์” ไขข้อสงสัย เหตุใดผู้ที่ป่วยเป็นโรคหัวใจ แต่ชอบกินเนื้อ-ไข่แดง ถึงมีอัตราการตาย แถมต้องทำบอลลูนหัวใจเพิ่มมากขึ้น! Source: ไขสงสัย ‘โรคหัวใจ‘ ชอบกินเนื้อ-ไข่แดง ทำไมตายแถมบอลลูนเยอะ? | เดลินิวส์

0 Comments

โควิด-19: ลำดับเหตุการณ์ แผนที่ อินโฟกราฟิก ยอดติดเชื้อ-เสียชีวิตในไทยและทั่วโลก – BBC News ไทย

บีบีซีไทยรวบรวมข้อมูลที่ควรรู้เกี่ยวกับการระบาดของโรคโควิด-19 สรุปในรูปแบบอินโฟกราฟิก เพื่อให้เข้าใจพัฒนาการของวิกฤตโควิด-19 Source: โควิด-19: ลำดับเหตุการณ์ แผนที่ อินโฟกราฟิก ยอดติดเชื้อ-เสียชีวิตในไทยและทั่วโลก - BBC News ไทย

0 Comments